ภาคีเครือข่าย

ภาคีเครือข่ายมูลนิธิพัฒนาชุมชนเป็นสุขคือภายใต้โครงการพัฒนาเครือข่ายตำบลสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้

ตำบลเครือข่าย 20 ตำบลและอบต.ขยายผล  20 ตำบล ( 40 ตำบล)

ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2553 – ปัจจุบัน

ตำบลเครือข่าย  20  ตำบล  ขยายผล  20  ตำบล

( นราธิวาส 5 ตำบล ขยายผล 8 ตำบล ,ปัตตานี 5 ตำบล ขยายผล 5 ตำบล  ,ยะลา  5 ตำบล ขยายผล 5 ตำบล และ สงขลา 5 ตำบล ขยายผล 2 ตำบล )

จังหวัดนราธิวาส 5 ตำบล

 

 

ตำบล(เครือข่าย)

 

ชื่อ – นามสกุล

นายกอบต.

 

ชื่อ-นามสกุล

รองนายก

 

ชื่อ –นามสกุล

ประธานสภาฯ

 

ชื่อ –นามสกุล

ปลัดอบต.

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์แผนและนโยบาย

 

หมายเหตุ(ที่สำนักงาน)

1.)อบต.สุคิริน นายเกียรติศักดิ์  ปัทมินทร์ 1.) นายการียา     สะมะแอ

2.) นายสุคนธ์      คงทน

นางพิศ  สุลีพร นายสารสิทธิ์   มารุวี นายนุ  ขวัญสืบ ต.สุคิริน  อ.สุคิริน จ.นราธิวาส  96190  โทร. 073-656177
2.)อบต.ช้างเผือก นายอับดุลเลาะ  สือแม 1.) นายมะยาลี   บาโด

2.) นายมูฮัมหมัดยุซรีซัม สุหลง

นายนิอามิงมะนาวี นายอดุลย์    ซือรี นายอนันต์  เยะ ม.2 บ้านกือมุง ต.ช้างเผือก อ.จะแนะ จ.นราธิวาส  โทร.0-7353-6080
3.)อบต.กาลิซา นายสมาน  สะอิ 1.) นายมาหามะ   อิงดิง

2.) นายอาแซ        สาบูดิง

นายมาหะมะสักรี   มะวี ว่าที่ร.ต.มนัสรี   หะยีมามะ น.ส.ธลธิชา พูลยรักน์ ม. 1 บ้านปูโงะ ต.กาลิซา  อ.ระแงะ จ.นรธิวาส  โทร.
4.)อบต.มะรือโบออก นายสุมิตร  สะมะแอ 1.) นายแวฮารน    แวดอเล๊าะ

2.) นายรอระ         ซาแล๊ะ

นายวันซูลกัรนัย  หะยีมะปีเยาะ นางวิไล     สุวรรณธนู นางฟาตีเมาะ   เจ๊ะมิ๊ สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออกเลขที่ 359 หมู่ที่ 6 บ้านปิเหล็งเหนือ ถนนมะรือโบออก – ปิเหล็ง

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสไปรษณีย์ 96130

โทรศัพท์ : 0-7353-8269  แฟกซ์ : 0-7353-8269  E-mail : admin@maruebo-ok.go.th

Powered By WNT.CO.TH

5.) อบต.ปะลุกาสาเมาะ นายเซะ    เมซา 1.) นายบดินทร์   ดงมูซอ

2.) นายรอนิง บูละ

 นายโซฟ   มะลิแว นายจีรวัฒน์   ดารากุล

(รักษาการปลัด)

นางสาวอาซีซะ  กาเรง ม.9 ต.ปะลุกาสาเมาะ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส  96  โทร.073-563043

ตำบลขยายผลจังหวัดนราธิวาส   8  ตำบล

1. ) อบต.แม่ดง นายมาหามะกามารูดิง อิสมาแอ 1.นายมะดาโอ๊ะ   ดลราสี

2.นายมะซาเอะ   และ

นายเจ๊ะหลง เจะอูเซ็ง นายมานิตย์ ศรีสุวรรณ์ นายแวอูเซ็ง  แวดือราแม ม.2  ต.แม่ดง  อ.แว้ง  จ.นราธิวาส 96160  โทร.
2.)อบต.เอราวัณ นายอาแวเจ๊ะโวะ 1.นายสุลกิปลี    อาแซ นายปารีดี   สมาน นางนรานารี  สันตินราพงษ์ นางสาวอุไรวรรณโกบปุเลา หมู่ที่6  ตำบลเอราวัณ  อ.แว้ง  จ.นราธิวาส  96160
3.)อบต.กะลุวอ นายรอมือลี  หะยีและ 1.นายสุไฮมินเจะดาโอะ นายแดง  ยะทัง นายหรูน  เพ็งโอ นางสาวซัลมา เล็งฮะ 4/6  ม. 4  ถ.สายเลี่ยงเมืองนายนราธิวาส-ตากใบ ต.กะลุวอ  อ.เมือง จ.นราธิวาส 96000 โทร. 073-5394956
4.)อบต.ริโก๋ นายบุนยามินกีลีมอ 1.นายเจ๊ะบือราเฮ็งเจ๊ะมามะ นายซาอูดี  มาลากะ นายเฟาซีลี  สาและ นายนุรดิน   กีลีมอ ม. 1  ต.ริโก๋  อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส 96140  โทร. 073-538874
5.)อบต.ปูโยะ นายมูหามะ  สาแลแม 1.นายรอเซ๊ะอาแวโซ๊ะ นายเฉลิมพันธ์  อำพล นายเจริญสุข  ผาพันธ์ นายอุสมาน  อาแซ  
6.)อบต.บาเระเหนือ นายมันโซ  รีแซ 1.นายมะอาดือนัน  มะเซ็ง นายอัดนัน   หะยีสาแล นายสำราญ  ขวัญอ่อน นายดุลมาหนะ ตาเละ ม.1 บ้านจำปากอ ต.บาเระเหนือ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาสโทร. 073-621020
7.)อบต.เกาะสะท้อน นายจีรศักดิ์  เล็งหะ 1.นายเกาลี ซินดำมะหะมัด นายซามูเด๊ะ  ดาเล็ง จ.ส.ต.ศกดิ์นรินทร์  ศรีฉ่ำ นางอรฤย  รังเสาร์ หมู่ 2 ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส 96110  โทร. 073-656177
8.)อบต.ลูโบะบือซา นายไพศาล  ตานิเห็ง 1.นายอับดุลรอเซะลีอิลา นายมะโรง  ลาเต๊ะ นายสมศรี  จิตเชาวนะ นายอนันต์   เยะ ม.3 บ้านกาปงปีแซ ต.ลูโบะบือซา อ.ยี่งอ จ.นราธิวาส

โทร073-590075

จังหวัดสงขลา 5 ตำบล

1.) อบต.ทุ่งพอ นายอับดุลวาฮะ  ขะเดหมะ นายนิเลาะ ตำตอนี นายอาลี  เตาะมอตัน นายก้อดีรี  หมัดหมาน นางสาวเสาวลักษณ์  มะหลี อบต.ทุ่งพอ อ.สะบ้าย้อย จ.สงขลา
2.)อบต.บ้านนา นายวีรยุทธหมะสะอะ                     – นายสมเดช  ใบหมะ ส.ต.ต.หญิง สุมล  จารุสาร นางสาวดรุณี  สถิตพิชญานนฐ์ อบต.บ้านนา อ.จะนะ จ.สงขลา
3.)อบต.สะกอม นายเสบเส็น  อาลามีน นายตอหาด  เจะหนิ นายมูนินหว่าหลำ นายไกรยุทธไชยพรม

รักษาราชการแทนปลัดอบต.

 

อบต.สะกอม อ.จะนะ จ.สงขลา
4.)อบต.นาทวี นายธเนศ  ล่องนาวา นายสมนึก  ทองเพ็ชร นายขรรค์ชัย  ขมิโดย ส.ต.ท.ประยงค์  ขวัญทอง นายศักดิ์สุริยา  หมัดหลี อบต.นาทวี อ.นาทวี จ.สงขลา
5.)อบต.ปากบาง นายดำรง  ดอเล๊าะ นายเกษม  รามันเศษ นายหวันกะเส็ม  ขุนดำริ นายอรุณ  บุญเส้ง นายเทิดวงศ์  หนูรักษ์ อบต.ปากบาง อ.เทพา จ.สงขลา

ตำบลขยายผลจังหวัดสงขลา  2 ตำบล

1.)อบต.ตลิ่งชัน นายเจะโส๊ะ  หัดเหาะ นายเดช  หมะเก นายกะดิ้น  แสงดี นายธีร์วดิษฐ์  สายควรเกย   อ.จะนะ
2.)อบต.สะกอม เทพา นายนายเสกสัน  ซาหีมซา นายสมหวัง  เสะยามา นายนรินทร์  เม๊าะสนิ นายอภิชัย  เกื้อก่อบุญ นางสาวรดา  เหล็มเม๊าะ อบต.สะกอม  อ.เทพา จ.สงขลา

จังหวัดปัตตานี 5. ตำบล

1.) อบต.สะดาวา นาง วิมล       เจะอุบง 1.นายอาหามะ  ยามา

2.นายสุรชัย หมุดแล๊ะ

นายฮามะ ปาลายา นางรอซีดะห์ยูโซะ

( รักษาการ )

นางรอซีดะห์ยูโซะ หมู่ 4 ตำบลสะ ดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี 94160

073461726

2.) อบต.ปากล่อ นายอับดุลบาซิมอาบู 1.นาย มะสดี เจ๊ะเละ

2.นายสืบสาย คูหามุค

นายปรีชา คงมาก นายวิโรจน์ จงอุรุดี นางสาว พรพิมล ประทุมทอง อบต.ปากล่อ ต.ปากล่อ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี
3.) อบต.บราโหม นายอภิชาติสะนิ 1.นายอับดุลมายิแวดาแม

2.นายอับดุลเลาะเบ็ญญากาศ

นายยาการียาแวกุโน

 

นายประชา   สาม่าน นางสาว มถุรส

อาหามะ

073-338028. หมู่ 2 ตำบลบาราโหม อำเภอเมืองจังหวัดปัตตานี 94000
4.) อบต.ตะโล๊ะ นายมะกือตา อาแว 1.นายณัฐพงศ์ จันสว่าง

2.นายมะดิงเจ๊ะมะ

นายอับดุลรอแมจะปะกียา นายเสือ ปูนสวัสดิ์ นายสุนทรี โทบุรี 073-335428.หมู่ที่ 3 ตำบลตะโละ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี 94150
5.) อบต.สาคอบน นายกูไซนัลบาบาที 1.นายวาหะ โตะลู

2.นายแวยาโหบราเฮง

นายดอรอแมการี นายธีรพงศ์ ศรียพันธ์ นางสาว ซารีปะห์ อารี 073-335286. หมู่ 1 ตำบลสาคอบน อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี 94140

ตำบลขยายผลจังหวัดปัตตานี  5  ตำบล

 
1.)เตราะบอน นายบรอเฮง        ดอมะ 1.นางสุธิษาสุวรรณสะอาด

2.นายมะรอซือดีดอป๊ะ

นายมะเภาซี      สาเมาะ นายชัยยุทธ์    หวันเซ่ง นางสุริยา   หมัดหลี หมู่ 1 ถนน เพชรเกษม ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี 94110.
2.)เทศบาลตันหยง นายสาเหะมูหามัด

อัลอิดรุส

1.นายมูหามะ           วามะ

2.นายอับดุลเลาะ     วาเด็ง

นายมะลางิงหะยีดือราปุ นายต่วนสูรี     ต่วนแว นายอามะ   โด เทศบาลตำบลตันหยง ต.มะนังยง

อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี 94150

0734871045

3.)อบต.เมาะมาวี นายอนวัช   เจ๊ะสมอเจ๊ะ 1.นายกามารุดิน    เจ๊ะแว

2.นายอุเซ็ง        โตะเจะ

นายอาแซ    กาหลง นายอับดุลรอแม

มะยีแต

นายอับดุลรอแม     มะยีแต 073-483109.

หมู่ 1 ตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี 94160

4.)อบต. ปุโละปุโย นายมามะ    หะยีสามะ 1.นายลีเป็งสะมะแอ

2.นายโสดิง             บือราเฮง

นายดลมานะ        มามะ นางสาว กชพร

ภัทรปฐมธัช

นางสาวนิแอเสาะ      นิแมเราะ  
5.)อบต.กะมิยอ นายมะ       เหมะ 1.นาย อาแซ          อุเซ็ง

2.นาย นิอาซิซ       สามะ

นายดอเลาะ       มูซอ นายอุสมาน   เวาะมอ

 

นางสาวเจะไซนะ    มะดีเยาะ หมู่ 2 ตำบลกะ มิยอ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000.

ตำบลเครือข่ายจังหวัดยะลา  5  ตำบล

 
1.)อบต.อาซ่อง นายอับดุลเราะห์มาน  แวมะชัย 1.นายซัมซุดีนโดซอมิ

2.นายอับดุลรอนิง สะมูฮำมะ

นายดอรอแมบือราเฮง นายอาบูบาซา     หะซิแม นางสาว กิตสุกานต์   จันทร์ฉาย อบต.อาซ่อง ต.อาซ่อง อ.รามัน จ.ยะลา
2.)อบต.ห้วยกระทิง นายวันอับดุลละห์ตะโล๊ะ 1.นายมะดี      ตาเฮ

2.นายซาบูดิง     มาฮะ

นาย อุสมาน นิแม

 

นายมานิต    ชุมห้อง นางสาวอารีนา    หะยียุโสะ ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา  95000

โทรศัพท์ 0-7320-1045

3.)อบต.กาตอง นายกิริยา       ลาแป 1.นายมะ     แซมา

2.นายมะสานี     ละฮา

นาย อับดุลรอเซะลือแบกาเซ็ง นางสาวสตีวรรณ      แอเสาะหะมะ นางสาว ฮาบีบะห์          วานิ อบต กาตอง อ ยะหา จ ยะลา

95120073265038,073265031

4.)อบต.กาบัง นายอับดุลอาซิซ  ดือราแม 1.นายมะรอบี    เบ็ญหามะ

2.นายมะรอฟี        ดารี

นายอับรอหะ      แขวงบู นายธีรภัฒน์     ธรรมรัตน์ นายอิบรอฮิม      สะดียามู องค์การบริหารส่วนตำบลกาบังหมู่ 3 ต.กาบัง อ.กาบัง จ,ยะลา  95120 โทรศัพท์ /แฟกซ์ 0- 7326-4331
5.)ทต.บุดี นายมะซากี  สาและ 1.นายยา         สามะ

2.นายสะมะแอ   ลือแมหะมะ

นายมะไลลา      มะดงแซ นายวิโรจน์      อรุณรัตน์ นางสาว รัฏญานติโย ทต บุดี  ต บุดี  อ เมือง  จ ยะลา 95000

ตำบลขยายผลจังหวัดยะลา  5 ตำบล

1.)อบต.กรงปินัง นาย ฮาซันลีลาตานา 1.นายแวซือแม       มะมิง

2.นายมะกือรี    เลาะยะผา

นายมาหะมุ    สาเมาะแม นายมาหะมะรอสีดี   อุชะมิ นาย สะอารอนิง          เซ็งมิง ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา 95000

073238100

2.)อบต.พร่อน นายมะรอบี     ดือเร๊ะ 1.นายรุสดี    ยูโซะ

2.นายอามีน   บอสู

นายมะรอนีสาเม๊าะ นาง ดวงดาว   สุจิเกษม นางจงกล                    ชินพงศ์ ตำบลพร่อน อำเภอเมือง

จังหวัดยะลา 95160

073264208

3.)อบต.ยะหา นายอุมา      สะมะแอ 1.นายบือราเฮง สะมะแอ

2.นายอับดุลรอมัน    กีละ

นายอาหะมะ      อาลี นาง จารุวรรณคงทน นางสาว ยาสณี              หะยีลาเต๊ะ ตำบลยะหา อำเภอยะหา

จังหวัดยะลา  95120

 

4.)ทต.โกตาบารู นายแวหะมะ    การีอุมา 1.นายอุสมาน   ละลูซามา

2.นายสุภกิจ รัตนบูรนันท์

นายอับดุลเลาะห์กามาเซะ นางสาว สุรัตวดี            เหมรักษ์

 

ทต โกตาบารู  อ รามัน  จ ยะลา
5.)ทต.สะเตงนอก นายอนุชิต   กิตติพุฒิพงศ์(รักษาการ) 1.นางสาวพรพิมลปิ่นแก้ว(รักษาการ)   ทต สะเตงนอก  อ เมือง  จ ยะลา

 

ตำบลเครือข่ายจังหวัดชายแดนใต้จำนวน   40  ตำบล   ประกอบด้วย   

1.)  จังหวัดนราธิวาส        จำนวน  13  ตำบล ๆ ละ 5 คน       จำนวน     65    คน

2.)  จังหวัดปัตตานี          จำนวน  10  ตำบล ๆ ละ 5 คน        จำนวน     50    คน

3.)  จังหวัดยะลา             จำนวน  10  ตำบล ๆ ละ 5 คน        จำนวน     50    คน

4.)  จังหวัดสงขลา           จำนวน   7   ตำบล ๆ ละ 5 คน        จำนวน   35    คน

รวมผู้เกี่ยวข้อง  200   คน

 

สรุปรายละเอียดโครงการพัฒนาเครือข่ายตำบลสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้

          สังคมไทยได้มีการพูดถึงการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นมากและบ่อยขึ้น ด้วยเหตุเพราะชุมชนท้องถิ่นนั้นเป็นฐานรากของประเทศที่มีความสำคัญกับการพัฒนา ซึ่งประกอบด้วย ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรบุคคลที่มีพลัง ภูมิปัญญา มีแกนนำลักษณะต่าง เช่น

แกนนำที่ขับเคลื่อนเชิงยุทธศาสตร์ หมายถึง ผู้ที่มีความสามารถในการคิดใหม่ ๆ มีความสามารถในการวางแผน การจัดการ และผลักดันให้เกิดนโยบายในระดับชุมชน 

แกนนำทางความคิดสู่การเปลี่ยนแปลง หมายถึง ผู้ที่สามารถเสนอนำความคิดเห็นทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่าง ๆ มีความสามารถในการนำความคิดเปลี่ยนแปลงคนในชุมชน

แกนนำของแหล่งเรียนรู้และทำงานในแหล่งปฏิบัติการ หมายถึง แกนนำ หรือผู้นำในตำบล/จังหวัดที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ลงมือทำจริงในเรื่องต่าง ๆ และองค์กร หมายถึง ตำบลศูนย์ฝึก ตำบลเครือข่าย ตำบลขยายผล ที่จัดกิจกรรมด้านการสร้างสุขภาวะ ภายใต้แผนงาน/โครงการหรือเข้าร่วมกิจกรรมที่แผนงาน/โครงการ และภาคีเครือข่าย จัดขึ้นผ่านกิจกรรมตามประเด็นต่าง ๆ เช่น การประชุม อบรม รณรงค์ การจัดนิทรรศการ การสาธิต การทำกิจกรรมด้านการสร้างสุขภาวะร่วมกัน เป็นต้น แต่ยังไม่ได้เข้าไปจัดการ สร้างกระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริมการเรียนรู้ที่เป็นระบบและเป็นธรรม ยิ่งในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้มีทุนทางสังคมมากมายมหาศาล ซึ่งเป็นวิถีความเป็นอยู่ของประชาชนที่กำหนดมา 1400 กว่าปี แต่ก็ยังไม่ได้เข้าไปจัดการองค์ความรู้ ที่จะนำไปสู่การปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมขึ้น อย่างจริงจังการรับรู้ของประชาชนอย่างถ้วนหน้า ซึ่งเป็นวิธีการหรือยุทธศาสตร์ที่จะสามารถสร้างสันติภาพในพื้นที่อย่างยั่งยืนได้

โครงการพัฒนาเครือข่ายตำบลสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้     ที่ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่และชุมชน (สน.3) สำนักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)  ดำเนินการโดย: เครือข่ายจังหวัดชายแดนใต้ (คจต.) ซึ่งเป็นองค์กรภาคประชาชนที่มีการรวมตัวเป็นเครือข่ายและที่มีความเห็นร่วมกัน เกิดขึ้นท่ามกลางความไม่สงบในพื้นที่อย่างยาวนาน ที่นำความสูญเสียไม่สามารถประเมินความสูญเสียได้ ซึ่งโครงการนี้มีหลักการและเหตุผล คือสถานการณ์สู่การสร้างเสริมเครือข่ายชุมชนเป็นสุขด้านสุขภาพ คือ สุขภาวะทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปัญญา หรือทางจิตวิญญาณ การอยู่ร่วมกันด้วยดีในระดับต่างๆ เป็นสุขภาวะทางสังคม เช่น ในครอบครัว ในชุมชน ในองค์กร ในสังคม ในประเทศ และในโลก สันติภาพเป็นทุนทางสังคมที่สำคัญ ความขัดแย้งรุนแรงถึงขั้นประหัตประหารกันคือสภาวะไร้สันติภาพ และไร้สันติสุขความรุนแรงใน 3 จังหวัดชายแดนใต้ ยังแก้ไม่ได้เพราะขาดความเข้าใจสาเหตุของปัญหาและวิธีแก้ ควรที่คนไทยจะพยายามศึกษาให้เข้าใจปัญหาความรุนแรงใน 3 จังหวัดชายแดนใต้จะมีประโยชน์ต่อการแก้ปัญหาอื่นๆ ด้วย เพราะมีปัญหาซับซ้อนที่ยากต่อความเข้าใจอื่น ๆอีกมาก เมื่อไม่เข้าใจก็แก้ปัญหาไม่ได้  ซึ่งสาเหตุของปัญหาความรุนแรงเกิดความเป็นรัฐเอกนิยมในสังคมพาหุวัฒนธรรม ยึดถือความเป็นหนึ่งเดี่ยว ซึ่งขัดแย้งกับความเป็นจริง ที่ผู้คนมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม และเชื้อชาติ ต้นตอที่สำคัญของปัญหาคือความไม่เคารพศักดิ์ของความเป็นคนในพื้นที่ ซึ่งเป็นโจทย์ที่สำคัญของทุกองค์กรภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการสร้างรูปแบบของการขับเคลื่อนและสร้างการเรียนรู้ของตนเอง

ความร่วมมือกันเพื่อสร้างและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ให้รักษาดุลยภาพด้วยพลังสังคม(social energy)อย่างทางจิตสำนึกและวิธีคิดใหม่ พลังการถักทอทางสังคม พลังวิธีการทางบวก เป็นแนวคิดที่สามารถจะสนับสนุนให้องค์กรหลักพื้นที่สามารถขับเคลื่อนและสนับสนุนการจัดการสุขภาวะ โดยมีเป้าหมายเดียวกันคือ การพัฒนาศักยภาพพื้นที่ให้มี “ ความเข้มแข็งของชุมชน ” ชุมชนเข้มแข็งจะสามารถจัดการเรื่องราวของชุมชนทุกอย่างได้อย่างบูรณาการ รวมทั้งการรักษาความปลอดภัย ดังนั้นควรส่งเสริมการรวมตัว รวมคิด รวมทำของชุมชนให้เต็มที่ สามารถทำแผนพัฒนาที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมอันหลากหลายของชุมชนท้องถิ่น และขับเคลื่อนการพัฒนาด้วยตนเอง ซึ่งรวมถึงสร้างความปลอดภัยของชุมชนและส่งเสริมสิทธิชุมชนในการเข้าถึงการใช้ทรัพยากรอย่างเป็นธรรมซึ่งจะขจัดความยากจนและส่งเสริมความเป็นเอกภาพขององค์กรมุสลิม และส่งเสริมมัสยิดให้เข้มแข็งสามารถเป็นศูนย์กลางของชุมชนมุสลิมในการสันติภาพ

ในการพัฒนายุทธศาสตร์ดับไฟใต้และสร้างเป็นเอกภาพของอำนาจรัฐการพัฒนายุทธศาสตร์ดับไฟใต้และสร้างความเป็นเอกภาพของอำนาจรัฐ อาจประกอบด้วย 5 ส่วน หรือเบญจภาคีคือ การพัฒนายุทธศาสตร์จึงต้องร่วมกันพัฒนา ร่วมกันเข้าใจ และร่วมกันปฏิบัติของทุกภาคส่วน การสร้างความเป็นเอกภาพของภาครัฐด้วยกระบวนการทางสังคมและความเคลื่อนไหวของสื่อมวลชน กระบวนการทางสังคมเพื่อเข้ามาเรียนรู้และร่วมผลักดัน ส่งเสริมการเคลื่อนไหวของสื่อเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการพัฒนายุทธศาสตร์ ส่งเสริมความเป็นเอกภาพในยุทธศาสตร์ของภาครัฐและกระบวนการทางสังคม จากประสบการณ์การทำงานและบทเรียนการทำงานในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ที่ได้เล็งเห็นถึงความจำเป็นในการขับเคลื่อนตำบล 3 จังหวัดชายแดนใต้ให้มีแหล่งเรียนรู้เพื่อตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหาในชุมชน สร้างองค์ความรู้การเสริมสร้างสุขภาวะ และผลักดันให้เกิดนโยบายสาธารณะที่สอดคล้องกับวิถีชุมชนเกิดเครือข่ายและระบบสนับสนุนในการพัฒนา ซึ่งมีคำนิยามเชิงปฏิบัติการ

แหล่งเรียนรู้หมายถึง การจัดกระบวนการเรียนรู้ตำบลใน 3 จังหวัดชายแดนใต้ โดยถ่ายทอดประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ ที่เป็นทุนทางสังคมที่มีอยู่ โดยถ่ายทอดประสบการณ์คนที่ทำงานจริงให้กับตำบลเครือข่ายได้รับรู้ สามารถนำไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่

ตำบลต้นแบบ หมายถึง ตำบลที่มีการพัฒนาศักยภาพทุนทางสังคม มีกระบวนการจัดการ การเรียนรู้การรับรู้ภายใต้ระบบการศึกษาบูรณาการ ระบบการจัดการชุมชนด้วยระบบชูรอ ระบบสวัสดิการระบบซะกาต และการพัฒนาระบบอาชีพที่ปลอดภัย เป็นต้น ที่สามารถสร้างชุมชนเป็นสุข

ตำบลขยายผล หมายถึง ตำบลเครือข่ายที่มีเป้าหมายในการพัฒนาตนเองในการเสริมสร้างชุมชนเป็นสุขฐานคิดในการดำเนินการแนวคิด เบญจภาคี คือ การพัฒนายุทธศาสตร์ ต้องร่วมกันพัฒนา ร่วมกันเข้าใจ และร่วมกันปฏิบัติการสร้างความเป็นเอกภาพของภาครัฐ โดยเน้นกลไกการมีส่วนร่วมใน

การพัฒนายุทธศาสตร์ การค้นหาผู้นำ การมีเครื่องมือกลไกในการขับเคลื่อนความเป็นเอกภาพกระบวนการทางสังคมที่สนับสนุนภาคประชาชน ภาคท้องถิ่น และภาคท้องที่ (กระบวนการชูรอ สวัสดิการสังคมระบบซะกาต ) เข้ามาร่วมเรียนรู้การใช้กระบวนทัศน์อิสลามหรือวิถีศาสนธรรมเพื่อการพัฒนาทุนของเครือข่ายและทุนทางสังคมในพื้นที่เช่น ระบบการศึกษาบูรณาการห้องเรียนวิถีอิสลามในระดับประถมศึกษาระบบสวัสดิการสังคมด้วยระบบซะกาต ระบบการจัดการชุมชนด้วยระบบชูรอระบบการพัฒนาอาชีพ

เป้าประสงค์ เกิดกระบวนการพัฒนาที่นำไปสู่ตำบลสุขภาวะ

พื้นที่เป้าหมาย  40  ตำบล ระยะเวลา 3 ปี ( พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2555 ) ในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส และ 4 อำเภอจังหวัดสงขลา  โดยมีวัตถุประสงค์คือเพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการเรียนรู้ที่ตอบสนองขบวนการพัฒนาของชุมชนท้องถิ่น  และสนับสนุนให้เกิดระบบการจัดการสุขภาวะชุมชนโดยชุมชนขับเคลื่อนให้เกิดเครือข่ายตำบลสุขภาวะด้วยวิถีศาสนธรรมกับการพัฒนาสร้างองค์ความรู้การสร้างสุขภาวะที่เกิดจากการปฏิบัติจริงในพื้นที่ตลอดจนใช้กระบวนการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะชุมชนท้องถิ่นสอดคล้องกับวิถีชุมชน

กิจกรรมในการขับเคลื่อนงานหรือแผนงานโครงการ  นั้นมีหลากหลายวิธี เช่น

1.)    การศึกษาเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงเทศบาลตำบลปริก ในฐานะที่เป็นศูนย์ประสานงาน

เครือข่ายชุมชนท้องถิ่นเพื่อการเรียนรู้ภาคใต้ตอนล่าง ( เทศบาลตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา)ซึ่งมีหลักสูตรในกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการเชิงการบริหารจัดการชุมชนท้องถิ่น รูปแบบธรรมาภิบาล ที่สอดคล้องกับสภาพบริบทในพื้นที่ได้อย่างกลมกลืน และมีกิจกรรมสร้างสุขสามารถสัมผัสได้ มีความยั่งยืน ซึ่งเป็นต้นแบบของการบริหารจัดการ โดยเฉพาะด้านการสร้างแกนนำชุมชน พัฒนาขีดความสามารถของแกนนำหลายระดับ

2.)    การศึกษาเรียนรู้ปฏิบัติจริงพื้นที่ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ซึ่งถือว่เป็น

พื้นที่ต้นแบบ ในการจัดการชุมชนด้วยกระบวนการชูรอ และเป็นเครือข่าย ที่ได้รับการพัฒนาโดยองค์กรภาคประชาชน และมูลนิธิพัฒนาชุมชนเป็นสุข(องค์กรสาธารณประโยชน์) ซึ่งเป็นที่ตั้งสำนักงานกลางโครงการพัฒนาเครือข่ายตำบลสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ มีกิจกรรมสร้างสุขวิถีชุมชน “ ศูนย์เรียนรู้สร้างสุขวิถีชุมชน ” ตำบลเครือข่าย ตำบลขยายผล ที่จะต้องมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้

3.)    การแลกเปลี่ยนเรียนรู้พื้นที่เครือข่ายระดับจังหวัด เป็นกิจกรรมลักษณะการประเมิน ถอด

บทเรียน ในการพัฒนาภายในจังหวัดต่าง ๆ ที่เป็นเครือข่าย ร่วมดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนเรียนรู้ร่วมกัน

4.)    การแลกเปลี่ยนรู้ระดับเครือข่าย เป็นกิจกรรมเชิงบูรณาการระดับเครือข่าย และภาคีร่วม

พัฒนาทั้งส่วนภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถ สานต่อความสัมพันธ์เชิงเครือข่ายอย่างลึกซึ้ง  การสนับสนุนงบประมาณในการขับเคลื่อนกิจกรรมสร้างสุขการติดตาม เสนอแนะ กิจกรรมระดับพื้นที่การวิจัยเชิงการพัฒนาโดยชุมชน  เป็นการเสริมสร้าง พัฒนาขีดความสามารถ องค์กร เครือข่าย สร้างนักวิชาการระดับชุมชน นักวิจัยชุมชน เรียนรู้กระบวนการจัดทำข้อมูลตำบล เพื่อพัฒนานโยบายระดับท้องถิ่น  ตลอดจนกิจกรรมสื่อสารกับสังคม  มีทำเว็บไซด์เป็นการสื่อสารกับสังคมภายนอก  เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน คือ www.chaidentai.net

2.) ภาคียุทธศาสตร์  องค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด ( อบต.โละจูด )  อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาสเป็นองค์กรที่ขับเคลื่อนการพัฒนาสังคม

3.) ภาคียุทธศาสตร์ มูลนิธิศูนย์ประสานงานตาดีการจังหวัดนราธิวาส หรือมีชื่อว่า (YayasanPusatPenyelarasanTadika  Selatan  ชื่อย่อว่า (Perkasa) ซึ่งมีสมาชิกในพื้นที่  5 จังหวัดชายแดนใต้ คือ

3.1.) ชมรมตาดีกาจังหวัดปัตตานี (Pustaka/ฟูซตากา)  มีสมาชิกโรงเรียนตาดีกา  636

แห่ง  ครูโรงเรียนตาดีกา  3,206  คน  มีเด็กนักเรียน  64,575 คน

3.2.) ชมรมตาดีกาจังหวัดยะลา (Pertiwi/เปอร์ตีวี)  มีสมาชิกโรงเรียนตาดีกา จำนวน

485  แห่ง มีครูโรงเรียนตาดีกา จำนวน  2,695  คน มีเด็กนักเรียน  43,782 คน

3.3.) มูลนิธิศูนย์ตาดีกาจังหวัดนราธิวาส  (Pusaka/ฟูซากา) มีสมาชิกโรงเรียนตาดีกา จำนวน 679  แห่ง มีครูโรงเรียนตาดีกา จำนวน   3,459  คน มีเด็กนักเรียน 63,787 คน

3.4.) ชมรมตาดีกาจังหวัดสงขลา (Putra /ฟูตรา)  มีสมาชิกโรงเรียนตาดีกา จำนวน

222  แห่ง  มีผู้สอนโรงเรียนตาดีกา จำนวน 1,543 คน มีเด็กนักเรียน  22,307 คน

3.5.) ชมรมตาดีกาจังหวัดสตูล ( Pantas/ปันตาส) มีสมาชิกโรงเรียนตาดีกา 175 แห่ง

มีครูผู้สอนโรงเรียนตาดีกา 948 คน มีเด็กนักเรียน 1,648 คน สรุปผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของชุมชน ณ วันนี้ มีโรงเรียนตาดีกา  2,197 แห่ง ครูผู้สอนโรงเรียนตาดีกา  11,887 คน  และมีเด็กนักเรียน  152,348 คน

4.)ภาคียุทธศาสตร์ ศูนย์ประสานงานองค์กรเอกชนจังหวัดนราธิวาส (ศอ.นธ.)ซึ่งมี

สมาชิศูนย์ประสานงานประกอบด้วย

1.พุทธสังคมจังหวัดนราธิวาส

2.ชมรมสังคมมีสุขจังหวัดนราธิวาส

3.ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์

4.สมาคมครูผู้ปกครอง รร.อนุบาลนราธิวาส

5.สมาชิกสภาที่ปรึกษาการบริหาร และพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้

6.ชมรมผู้สูงอายุมุสลิมนราธิวาส

7.มูลนิธิอิหม่าม คอเต็บ บิหลั่น อ.ศรีสาคร

8.มูลนิธิเอาว์กอฟอัลมิสบะห์

9.สมาคมอิสลามนราธิวาส

10.ชมรมอาสาพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนราธิวาส (อพม.)

11.ชมรมพลังแผ่นดินท้องถิ่นสามัคคีจังหวัดนราธิวาส

12.สุไหงโก-ลกอิสลามมิกสมาคม

13.มูลนิธิเพื่อการศึกษาและการกุศล อ.รือเสาะ

14.มูลนิธิอัลอีมาน

15.มูลนิธิคุณแม่ประไพและเพื่อน

16.มูลนิธิศูนย์ตาดีกานราธิวาส

17.มูลนิธิอัสสาอาดะห์เพื่อการศึกษา

18.สมาคมศิษย์เก่านักศึกษาจังหวัดชายแดนใต้

19.เครือข่าย พม. ตำบลปาเสมัส

20.มูลนิธิสัมพันธ์วิทยา

21.มูลนิธิดารุลสาลาม

22.ชมรมอีหม่ามและผู้นำศาสนาเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

23.ชมรมประชาสังคมนราธิวาส

24.ชมรมนายก อบต.จังหวัดนราธิวาส

25.มูลนิธิอัลอิสลามียะห์

26.เครือข่ายชมรมผู้ปกครองมุสลิมนราธิวาส

27.ชมรมสังคมมีสุข จังหวัดนราธิวาส

28.สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดนราธิวาส

5.)    ภาคียุทธศาสตร์ สมาคมสันนิบาติมูลนิธิจังหวัดนราธิวาส ซึ่งประกอบด้วย คือ

1.มูลนิธิจ้าวแม่ทับทิม

2.มูลนิธิอิสลามเพื่อการศึกษา

3.มูลนิธิเมตตาธรรมนราธิวาส (ซือเต็กเซี่ยงตึ้ง)

4.มูลนิธิทักษิณนราธิวาส

5.มูลนิธิพัฒนาเกษตร-อนามัยในพระราชูปถัมภ์

6.ราชานุกูลมูลนิธิ

7.มูลนิธิช่วยเหลือการประถมศึกษาจังหวัดนราธิวาส

8.มูลนิธิพระอาจารย์แดง ยโสธร

9.มูลนิธิทักษิณ-พรหมาภรณ์ วัดเขากง

10.มูลนิธิบางนราวิทยาและประวิช เลาหะกุล

11.มูลนิธิโรงเรียนไทยรัฐวิทยา 10 (บ้านใหม่)

12.มูลนิธิอิสลามนราธิวาส

13.มูลนิธิพระครูวิจารณ์สมณวัตร์ วัดบางนรา

14.มูลนิธินราสงเคราะห์และการศึกษา

15.มูลนิธิลูกเสือชาวบ้าน

16.มูลนิธิสงเคราะห์เด็กบางนรา

17.มูลนิธิโรงเรียนสุกัญศาสน์วิทยา

18.มูลนิธิสงเคราะห์เด็กและเยาวชนของศาล จังหวัดนราธิวาสแผนกคดีเยาวชนและ

ครอบครัว

19.มูลนิธิเพื่อสนับสนุนโรงเรียนนราธิวาส

20.มูลนิธิกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

21.มูลนิธิอิสลามบูรณะโต๊ะนอ

22.มูลนิธิเพื่อการพัฒนากีฬาจังหวัดนราธิวาส

23.มูลนิธิพระครูธรรมโศภณ (พ่อท่านเซ่ง)

24.มูลนิธิอัดดีรอซาตอัลอิสลามมียะห์

25.มูลนิธิอารีเพ็ญ-ฮาลีเมาะ อุตรสินธุ์ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน

26.มูลนิธิครูกอบกุล

27.มูลนิธิองค์พ่อจตุคามรามเทพและศาสนาหลักเมืองนราธิวาส

28.มูลนิธิพระพุธทักษิณมิ่งมงคล

29.มูลนิธิอัลอาบาดียะห์อัลคอรียะห์

30.มูลนิธิเพื่อโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์

31.มูลนิธิคณะแพทย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

32.มูลนิธิเพื่อการพัฒนามนุษย์

33.มูลนิธิรือเสาะประชานุเคราะห์

34.มูลนิธิหลวงพ่อพลับ

35.มูลนิธิคุณครูธีระชัย  สืบประดิษฐ์

36.มูลนิธิอิสลามเพื่อการศึกษาและการกุศล

37.มูลนิธิอัรเราะห์ดีนียะห์

38.มูลนิธิสันติภาพ

39.มูลนิธิอัลอุลูมอัลดีนียะห์

40.มูลนิธิดารุลมุคตาร์

41.มูลนิธิอิสลามศรีทักษิณ

42.มูลนิธิโรงเรียนรอมาเนีย

43.มูลนิธิโรงเรียนจริยธรรมวิทยา

44.มูลนิธิพัฒนาชุมชนเป็นสุข

45.มูลนิธิเพื่อการศึกษาอำเภอแว้งเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา

46.มูลนิธิคุณแม่ประไพ และเพื่อน

47.มูลนิธินูรุดดิน

48.มูลนิธิอัสสาอาดะห์เพื่อการศึกษา

49.มูลนิธิพระสังกัจจารย์สุไหงปาดี

50.มูลนิธิดารุลรอห์มาฮ์

51.มูลนิธิปรีชา  แซ่ลิ่ม

52.มูลนิธิดารุสสลาม

53.มูลนิธิเอาว์กอฟอัลมิสบะฮ์

54.มูลนิธิโรงเรียนเจริญศึกษา

55.มูลนิธิอัลฮามีดียะห์อัลอิสลามียะห์

56.มูลนิธิศิริธรรมวิทยา

57.มูลนิธิตายุลอิสลาม

58.มูลนิธิศูนย์ตาดีกานราธิวาส

59.มูลนิธิฟื้นฟูมรดกอิสลามภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ประเทศไทย)

60.มูลนิธิอัครสาสน์วิทยา

61.มูลนิธิอัล-ฟรุกอนเพื่อการศึกษา

62.มูลนิธิอิหม่าม คอเต็บ บิลาล

63.มูลนิธิอัลอิสลามียะห์

64.มูลนิธิเพื่อการศึกษาโรงเรียนสัมพันธ์วิทยา

65.มูลนิธิป้องกันและปราบปรามยาเสพติด จว.นธ.

66.มูลนิธิแสงธรรมวิทยาเพื่อการศึกษา

67.มูลนิธินายโก๊ะ นางดำ บุญรักษ์และญาติ

68.มูลนิธินายอำเภอ ดร.เจษฎา  อุรพีพัฒนาพงศ์

69.มูลนิธิธารน้ำใจสุไหงโก-ลก

70.มูลนิธิโรงเรียนเจปอเต็กตึ้ง สุไหงโก-ลก

6.)    ภาคียุทธศาสตร์สำนักพลังงานจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ภายใต้

โครงการจัดทำแผนพลังงานชุมชนสนองพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง

7.)    ภาคียุทธศาสตร์ ศูนย์บริการวิชาการเขต 8 (จังหวัดสงขลา) กรมพัฒนาพลังงาน

ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

8.)    ภาคียุทธศาสตร์สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด

นราธิวาส